มะเร็งเป็นภัยอันตรายอันดับ 1 ของคนไทย การตรวจหามะเร็งได้ตั้งเเต่เนิ่นๆสามารถหาเเนวทางรักษาได้อย่างถูกวิธี ปัจจุบันการเเพทย์พัฒนาไปมาก เราสามารถเข้าไปตรวจดูลึกถึงระดับยีนส์ในร่างกายเราเลย วิธีการที่นักวิทยาศาสตร์การเเพทย์คิดค้นขึ้นมาเค้าเรียกว่าการตรวจ TP53 ย่อมาจาก (Tumor Protein 53)

ถ้าเราถามคุณหมอว่ามะเร็งมันเกิดได้อย่างไร คำถามที่ได้รับคำตอบจากคุณหมอส่วนใหญ่ก็คือเป็นเกิดจากพันธุกรรมหรือปัจจัยเเวดล้อมที่คนเราไปเกี่ยวข้อง

มนุษย์คนเราจะมียีนส์ TP53 จะช่วยยับยั้งไม่ให้ร่างกายเกิดการเเบ่งเซลล์ที่ผิดปกติ  ถ้าคุณมียีนส์ TP53 ที่กลายพันธ์เเสดงว่ายีนส์ไม่สามาถกำหนดการเจริญเติบโตของเซลล์ได้ จึงสามารถพัฒนาเป็นโรคมะเร็งได้

ยีนส์ TP53 อยู่ในตำเเหน่ง 17P13 ถูกค้นพบครั้งเเรกในปี 1979

โปรตีน TP53 เป็นส่วนนึงในตำเเหน่งยีนส์ P53 ลองชมวีดีโอนี้ดูนะครับจะได้เข้าใจได้ง่ายขึ้น

การทำงานของ P53

  • ทำให้วงจรการเกิดเเละดับของ Cell
  • การซ่อมเเซมระดับ DNA

ครูจะไม่ลงไปลึกถึงวิธีการทำงานของ P53 ให้นักเรียนลองไปศึกษาดูด้วยตนเองจากวีดีโอครับ

การตรวจ TP53 สามารถตรวจได้ที่จากเลือดหรือไขกระดูกครับ

เเล้วเราจะรู้ได้ยังไงว่าควรตรวจ TP53 เมื่อไหร่

  • ถ้าคนในครอบครัวมีประวัติเป็นมะเร็งก่อนอายุ 45 ปี
  • ถ้าเรามีเนื้องอกขึ้นในร่างกายเราก่อนอายุ 46 ปี

ถ้าหากท่านสนใจสามารถติดต่อทางโรงพยาบาลชั้นนำเเผนกมะเร็งในการตรวจหาโปรตีน P53 กันครับใช้เวลาประมาณ 10 วันทำการค่าใช้จ่ายเเต่ละโรงพยาบาลไม่เหมือนกันครับเเนะนำไปรัฐบาลจะถูกกว่าครับ

วิธีการตรวจ

This test is performed by PCR-based Next Generation Sequencing of DNA to examine the mutation status of the entire coding region of the TP53 gene (exons 2 through 11).

Test Parameters:  

This assay can detect mutations present in exons 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8,9,10 and 11 of TP53. The limit of detection of the Next Generation Sequencing assay is 5% of variant sequence in the background of wild-type sequence.

เราจะเห็นว่าวงจรการเกิดมะเร็งมันเป็นสิ่งที่คนเรามองไม่เห็น เราจึงต้องหมั่นออกกำลังกายทำจิตใจที่ไม่เครียด เเละพักผ่อนให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นปิ้งย่าง ทานอาหารควรล้างผักด้วยเครื่องโอโซนสม่ำเสมอๆเพราะปัจจุบันยาฆ่าเเมลงที่อยู่ในอาหารมาก  การใช้ชีวิตของเราในเเต่ละวันสำคัญมาก มะเร็งมันไม่ได้เกิดโดยเร่งด่วนเเต่มันเกิดขึ้นสะสมในเเต่ละวัน หลีกเลี่ยงควันบุหรี่เเละการเที่ยวกลางคืนครับ

การเรียนว่ายน้ำก็เป็นทางเลือกที่เราสามารถออกกำลังกายได้ทุกส่วน กระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิต ถ้าเราหมั่นออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอก็จะสามารถห่างใกลโรคได้ครับ

Reference:

  • https://www.mdanderson.org/research/research-resources/core-facilities/molecular-diagnostics-lab/services/tp53-mutation-analysis.html
  • https://homehealthchoices.com/rare-mutation-of-tp53-gene-leaves-individuals-at-greater-threat-for-a-number-of-cancers/

 

 

 

สถาบันสอนว่ายน้ำด้วยความรัก ความเชื่อ และความหวัง ที่เดียวในไทย ว่ายไม่เป็นเรายินดีคืนค่าเรียนเต็มจำนวน เราพร้อมช่วยท่านว่ายน้ำเป็นเร็วภายในคอร์สเดียว สร้างพื้นฐานว่ายน้ำเพื่อไปต่อยอดกีฬาทางน้ำ ได้รับการยอมรับจากสื่อชั้นนำทั่วประเทศ ดาราหลายท่านไว้วางใจมาเรียนที่นี่ รับประกันผล 100% คุ้มค่ากับทักษะที่ท่านจะได้รับติดตัวไปตลอดชีวิต

อาหารประเภท ปิ้ง ย่าง รมควัน
อาหารประเภทนี้ เช่น หมูปิ้ง ไก่ย่าง
ตลอดจนบาร์บีคิวหรือหมูกระทะ ล้วนเป็นอาหารก่อ
มะเร็งทั้งสิ้น เนื่องจากอาหารจำพวกนี้จะถูกไฟเผา
จนไหม้เกรียม ซึ่งจะมีสารก่อมะเร็งที่เรียกว่า
polycyclic aromatic hydrocarbons หรือ พีเอเอช
(PAHs) ซึ่งเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดวง
แหวน ดังนั้น สารก่อมะเร็งชนิดนี้เป็นอันตรายไม่
เฉพาะในมนุษย์เท่านั้น แต่ยังก่ออันตรายในสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดอื่นด้วย โดยมีการศึกษาวิจัย
พบว่าสารพีเอเอชชนิดหนึ่ง คือ 7,12-dimethyl
benz[α]anthracene (DMBA) สามารถทำาให้เกิด
มะเร็งเต้านมในหนูได้ (Hakkak et al., 2005) ซึ่ง
เป็นผลมาจากความผิดปกติของยีน TP53 แต่ผล
ของพีเอเอชต่อการเกิดมะเร็งเต้านมในมนุษย์ยังหา
ข้อสรุปได้ไม่ชัดเจน สารพีเอเอชกลุ่ม benzopyrene
พบว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการบริโภคอาหารเหล่านี้
อาหารที่มีสารนี้ในปริมาณสูง (Lee et al., 2005)
โดยเฉพาะอย่างยิ่งมะเร็งในกระเพาะอาหาร (Lee et
al., 1998) ดังนั้น จึงควรหลีกเลี่ยงบริโภคอาหาร
ประเภทนี้

มะเร็งปากมดลูก
สาเหตุสำคัญของการเกิดมะเร็งปากมดลูก
คือ การติดเชื้อไวรัส human papillomavirus (HPV)
เป็นไวรัสที่ทำให้ติดเชื้อใน epithelium cell ของ
เซลล์ผิวหนังและบริเวณที่มีเยื่อเมือก ได้แก่ บริเวณ
ผิวหนัง ปากมดลูก อวัยวะสืบพันธุ์ทั้งเพศชายและ
หญิง ช่องปาก ลิ้น คอหอย เป็นต้น ไวรัสชนิดนี้มี
หลายร้อยสายพันธุ์ บางสายพันธุ์ไม่ทำให้เกิดโรค
ใดๆ บางสายพันธุ์ทำให้เกิดเป็นเพียงหูดที่บริเวณ
แขน ขา และมือ แต่บางสายพันธุ์มีความร้ายแรง
ส่งผลให้เป็นมะเร็ง ซึ่งสายพันธุ์ที่เป็นสาเหตุหลัก
ของการเป็นมะเร็งปากมดลูก คือ สายพันธุ์ 16 และ
18 (Munoz et al., 2003) จากการศึกษาพบว่าเกือบ
100% ของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกจะติดเชื้อไวรัส
HPV ซึ่งในปจัจุบันสามารถป้องกัน การติดเชื่อไว้รัส
ชนิดนี้ได้โดยการเข้ารับการฉีดวัคซีน ซึ่งน่าจะส่งผล

ให้อัตราการเกิดมะเร็งปากมดลูกในผู้หญิงทั่วโลก
ลดลง มีการศึกษามากมายที่พยายามค้นหาสาเหตุ
ของการเกิดมะเร็งปากมดลูกเนื่องจากการติดเชื้อ
ไวรัส HPV และพบว่าการติดเชื้อไวรัสชนิดนี้มีผลต่อ
ดีเอ็นเอของมนุษย์ โดยโปรตีนบางชนิดของไวรัส
HPV จะไปทำลายยีนต้านมะเร็งในมนุษย์ เช่น ยีน
TP53 ซึ่งเป็นยีนต้านมะเร็งที่มีบทบาทส าคัญต่อการ
ซ่อมแซมดีเอ็นเอที่เสียหายภายในเซลล์ และมี
บทบาทต่อการชักนำการฆ่าตัวตายของเซลล์เมื่อ
เซลล์ไม่สามารถซ่อมแซมตัวเองได้ (Tommasino et
al., 2003) ดังนั้น ไวรัส HPV จึงส่งผลให้คนที่ติด
เชื้อไวรัสชนิดนี้ มีความสามารถในการต้านต่อการ
เป็นมะเร็งลดน้อยลง จนมีการพัฒนากลายเป็น
มะเร็งปากมดลูกในที่สุด มะเร็งปากมดลูกสามารถ
ตรวจพบด้วยการทำแปปสเมียร์ (Pap smear) ซึ่ง
ปจัจุบนัสามารถตรวจดูไดท้ งั้พยาธสิภาพของเซลล์
และตรวจการติดเชื้อ HPV โดยตรง เนื่องจากการ
ติดเชื้อไวรัส HPV เป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับ 1 ของการ
เกิดมะเร็งปากมดลูก และอาจจะเป็นสาเหตุที่
ก่อให้เกิดพยาธิสภาพของเซลล์ได้ (Whiteside et
al., 2008) ดังนั้น จึงใช้การตรวจเชื้อ HPV เป็น
เครื่องมือในการตรวจคัดกรองสำหรับผู้ที่มีภาวะ
เสี่ยงในการเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ (Saslow et al.,
2012)

ยีนต้านมะเร็ง (tumor suppressor gene)
ในภาวะปกติของเซลล์ต้องมียีนในกลุ่มนี้
แสดงออกอยู่ เนื่องจากยีนในกลุ่มนี้ทำหน้าที่
ควบคุมการเจริญเติบโตของเซลล์ไม่ให้มีการ
เจริญเติบโตมากหรือเร็วเกินควร นอกจากนี้ ยัง
ควบคุมการฆ่าตัวตายของเซล์เมื่อเซลล์สิ้นอายุขัย
หรือมีความผิดปกติของดีเอ็นเอหรือโครโมโซม ซึ่ง
ไม่สามารถซ่อมแซมได้แล้ว ยีนในกลุ่มนี้เป็นยีนที่มี
การถ่ายทอดในลักษณะยีนด้อย กล่าวคือต้องพบ
การกลายหรือความผิดปกติของยีนทั้ง 2 แอลลีล จึง
จะทำให้เซลล์นั้นมีความผิดปกติและมีศักยภาพที่จะ
กลายเป็นเซลล์มะเร็ง ตัวอย่างที่สำคัญของยีนใน
กลุ่มนี้ คือ ยีน TP53 เนื่องจากยีนนี้ทำหน้าที่สร้าง
โปรตีน P53 ที่มีหน้าที่ 2 ประการ คือ 1) ตรวจเช็ค
ความเสียหายของดีเอ็นเอ เมื่อตรวจพบจะสั่ง
หยุดวัฎจักรเซลล์ และส่งสัญญาณให้มีการซ่อมแซม
ดีเอ็นเอจนกว่าซ่อมเสร็จ จึงจะส่งสัญญาณให้วัฎจักร
ของเซลล์ด าเนินต่อ 2) ชักนำการเกิดการฆ่าตัวตาย
ของเซลล์ ในกรณีที่ดีเอ็นเอเสียหายมากจนไม่
สามารถซ่อมแซมได้ ซึ่งหน้าที่ทั้ง 2 นี้เป็นหน้าที่ที่มี
ความสำคัญต่อการต้านการเกิดมะเร็ง ถ้ายีนนี้เกิด
ความผิดปกติไปจะทำให้โปรตีน P53 ผิดปกติ

สารพิษทีอยู่ในควันบุหรี่
ควันบุหรี่เป็นสารก่อมะเร็งที่รู้จักกันอย่าง
แพร่หลาย สารที่สามารถก่อให้เกิดมะเร็งในบุหรี่ที่
ส าคัญคือ ทาร์หรือน้ำมันดิน ซึ่งในทาร์นี้มีสารก่อ
มะเร็งอีกเป็นจำนวนมาก โดยที่สารเหล่านี้ส่วนใหญ่
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เมื่อได้รับควันบุหรี่
เข้าสู่ร่างกาย ประมาณร้อยละ 50 ของทาร์จะไปจับ
ที่ปอด จากนั้นสารพิษที่เป็นองค์ประกอบของทาร์จะ
ไปมีผลต่อดีเอ็นเอภายในเซลล์ เช่น ทำให้ดีเอ็นเอ
เกิดการกลายขึ้น ส่งผลให้เซลล์นั้นกลายเป็น
เซลล์มะเร็งในที่สุด มีการศึกษาพบว่าควันบุหรี่

ยีนทีเกี่ยวข้องกักการซ่อมแซมดีเอ็นเอ (DNA
mismatch repair gene)

ในกระบวนการแบ่งเซลล์จะต้องมีการจำลอง
ตัวเองของดีเอ็นเอ ซึ่งเป็นกระบวนการที่ซับซ้อน
และก่อให้เกิดความผิดพลาดขึ้นได้ ทำให้มีการ
กลายเกิดขึ้นในวัฎจักรของเซลล์ ซึ่งสามารถเกิดขึ้น
เองตามธรรมชาติ ตามปกติแล้วเซลล์จะมีโปรตีนที่
ท าหน้าที่ในการซ่อมแซมความผิดปกตินั้น ซึ่ง
โปรตีนในกลุ่มนี้จะถูกจัดเป็นโปรตีนที่ใช้ในการ
ซ่อมแซมดีเอ็นเอ ซึ่งถูกสร้างมาจากยีนที่เกี่ยวข้อง
กับการซ่อมแซมดีเอ็นเอนี้เอง ถ้ายีนที่เกี่ยวข้องกับ
การซ่อมแซมดีเอ็นเอเหล่านี้สามารถท างานได้
ตามปกติ เซลล์ที่มีดีเอ็นเอเสียหายจะถูกซ่อมแซม
ได้ไม่มีปญั หาใดๆ แต่ถ้ายีนซ่อมแซมเกิดความ
ผิดปกติเสียเอง จะส่งผลให้ยีนนั้นขาดความสามารถ
ในการซ่อมแซมความเสียหายของยีนอื่น และถ้ายีน
ที่เสียหายนั้นๆ เป็นยีนก่อมะเร็งหรือยีนต้านมะเร็ง
จะส่งผลให้เซลล์นั้นมีความสามารถที่จะเป็น
เซลล์มะเร็งได้ในที่สุด อย่างไรก็ดี การถ่ายทอดของ
ยีนในกลุ่มนี้เป็ นการถ่ายทอดแบบยีนด้อย
เช่นเดียวกับยีนต้านมะเร็ง ในบางครั้งจึงจัดยีนที่
เกี่ยวข้องกับการซ่อมแซมดีเอ็นเอนี้เป็นหนึ่งในยีน
ต้านมะเร็ง

เอพิเจเนติก-การควบคุมเหนือลำดับดีเอ็นเอ (thaiscience.info)